การศึกษา

  • วท.บ.(เกษตรศาสตร์), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • M.Agr.(Agronomy), Tohoku University, Japan
  • Dr.Agr.(Agronomy), Tohoku University, Japan

สายงาน

  • สรีรวิทยาพืช (Plant physiology)

ความเชี่ยวชาญและสนใจ

  • การขยายพันธุ์พืช

    สรีรวิทยาของพืช (ไม้ผล) และสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช


email : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. 
โทรศัพท์ 0-3435-1889 ภายใน 3385-7 ต่อ 122
โทรสาร 0-3435-1889

งานวิจัย

  • ธาตุอาหารของพืช

    สรีรวิทยาของพืช

    สรีรวิทยาของไม้ผลเขตหนาว

    การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตทางพืชสวน

ผลงานตีพิมพ์

  • Jaroonchon, N., K. Krisanapook and W. Imsabai. 2017. The development of 2 acetyl-1-pyrroline (2-AP) in Thai aromatic coconut.Songklanakarin Journal of Science and Technology (SJST) 39 (2) : 179
  • Noypitak. S. A Terdwongworakul, K. Srisanapook and S. Kasemsumran. Evaluation of Astringency and Tannin Content in 'Xichu' Persimmons Using Near Infrared Spectroscopy. 2015. Internaltion Journal of Food Properties.J. Vol. 18 : pp.1014-1028.
    .
  • Jaroonchon, N., K. Krisanapook and L. Phavaphutanon. 2010. Carrelations Determined by Combustion Method and Kieldahl Method and Their Relationship with SPAD Values from Portable Chlorophyll Meter. Kasetsart J. (Nat.Sci.) 44 : 800-807.
  • Thaipong, K., K. Krisanapook and U. Boonprakob. 2003. Evaluation on genetic relationships of persimmons in Thailand based on RAPD markers. Thai J.Agric.Sci. 36(1): 9-20.
  • Jutamanee, K., S. Eoomkham, A. Pichakhum, K. Krisanapook and L. Phavaphutanon. 2002.Effect of Calcium, Boron and sorbitol on pollination and fruit set in mango cv. Namdokmai. Acta Horticulturae 575:829-834
  • Jutamanee, K., K. Krisanapook , L. Phavaphutanon and A. Pichakum. 2000. Anther dehiscence,pollen viability and pollen germination of three mango cultivars with different fruit set characters. Acta Horticulturae 509 Vol. II 553-558.
  • Krisanapook, K., A. Pichakum, V. Kaewladdakorn, L. Phavaphutanon and K. Jutamanee. 2000. Studies on fruit growth, levels of GA-like substances and CK-like substances in fruits of mango cv. Khiew Sawoey. Acta Horticulturae 509 Vol II 697-704.
  • Phavaphutanon, L., K. Krisanapook, K. Jutamanee and A. Phichakum. 2000. Changes of total non-structural carbohydrates within shoots of ‘ Nam Dok Mai' mango after paclobutrazol application. Acta Hortculturae 509 Vol II 559-566.
  • Iamtham, S., K. Krisanapook and S. Subhadrabandhu. 1998. Identification of some temperate fruit trees grown on the highlands of northern Thailand by isozyme patterns. Thai Journal of Agricultural Science 3:423-435.
  • Krisanapook, K ., S. Subhadrabandhu, S. Saleeto, S. Nirapath and S. Sirisuk. 1997. Increasing fruit size in persimmon cv. Xichu by plant bioregulators and girdling. Acta Horticulturae 463:419-424.
  • Krisanapook, K ., S. Subhadrabandhu, S. Saleeto, S. Nirapath and S. Sirisuk. 1996. Effects of some growth regulators on growth of persimmon fruits cv. Xichuu and Fuyu. Acta Horticulturae436:261-266.
  • Krisanapook K . and S. Subhadrabandhu. 1994. Effect of Some Practices and Hydrogen Cyanamide on Budbreak of ‘Shinseike' Pear. Acta Horticulturae 395:149-152. (ปริมาณงาน 80 %) Krisanapook K ., R. Ogata and S. Subhadrabandhu, 1990. Study on some cultural practicesto induce lateral bud emergence in apple trees grown under warm conditions. Acta Horticulturae 279:275-282. (ปริมาณงาน 60 %)
  • Krisanapook K ., Y. Motomura, T. Saito, R. Ogata and S. Subhadrabandhu. 1990. The effect of paclobutrazol, calcium and hydrogen cyanamide on growth cessation and bud burst of apple grown under warm glasshouse conditions. Kasetsart Journal 24:218-223. (ปริมาณงาน 50 %)
  • กฤษณา กฤษณพุกต์, ศิรส ทองเชื้อ และ ศศิยา ศิริพานิช. 2552. ไม้มงคลสำหรับงานจัดสวนในคติความเชื่อของไทยและจีน.วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร.40(3), 449-458
  • วิมล แก้วลัดดากร อุษณีษ์ พิชกรรม กฤษณา กฤษณพุกต์ และนิรันดร์ จันทวงศ์. 2546. อิทธิพลของสาร GA3ต่อการติดผล และการเปลี่ยนแปลงปริมาณ GA, ABA-like activity ภายในผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 34 ฉบับที่ 1-3 (พิเศษ) หน้า 219-222.
  • อรวรรณ แก้วเนตร, ลพ ภวภูตานนท์ และ กฤษณา กฤษณพุกต์. 2546. การเจริญเติบโตของยอดใหม่ชุดแรกของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้และพันธุ์แรดหลัง การตัดแต่งกิ่งออกสองและสามชั้นใบ. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 41 (สาขาพืช) 3-7 กุมภาพันธ์ 2546 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ หน้า 470-477.
  • นพพร สุรโชติ, ลพ ภวภูตานนท์ และ กฤษณา กฤษณพุกต์. 2546. ผลของการใส่ปุ๋ยก่อนหรือพร้อมกับการตัดแต่งกิ่งต่อการเจริญเติบโตของยอดใหม่ และปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้, ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 41 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 3-7 กุมภาพันธ์ 2546 วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ หน้า 478-484.
  • ยุพิน เคนตรี อรดี สหวัชรินทร์ กฤษณา กฤษณพุกต์ และสุรียา ตันติวัฒน์. 2542. ผลของ Benzyladenine และ Naphthalene Acetic ต่อการเพิ่มปริมาณยอด และการชักนำให้เกิดรากของไผ่ตงในสภาพปลอดเชื้อ.วารสารวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ปีที่ 7 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 2 หน้า 34-40.
  • ยุพิน เคนตรี อรดี สหวัชรินทร์ กฤษณา กฤษณพุกต์ และสุรียา ตันติวัฒน์. การตัดพันธุ์ไผ่ตงในสภาพปลอดเชื้อ.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 41-50.
  • คณพล จุฑามณี พีรเดช ทองอำไพ กฤษณา กฤษณพุกต์ และ ลพ ภวภูตานนท์. 2542. ผลของการพ่นสารทำลายการพักตัว, น้ำตาล และสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อคุณภาพของดอกมะลิลาในฤดูหนาว. ในรายงานการสัมมนาฮอร์โมนพืชเพื่อการผลิตไม้ผลนอกฤดูกาล. จัดโดย คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยและพัฒนาสารเคมีเกษตร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และสมาคมวิทยาศาสตร์การเกษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 9-11 มิถุนายน 2542. จันทบุรี. หน้า 45-56.
  • ผลงานตีพิมพ์ :: วิทยา สุริยาภณานนท์ โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ กฤษณา กฤษณพุกต์ . 2529. ความสำเร็จของกาต่อตาดอกสาลี่ใน
    ประเทศ ไทย ในรายงานการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 24 สาขาพืช เล่ม II มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 27-29 มกราคม 2529. หน้า 200-208. (ปริมาณงาน 20% )
  • วิทยา สุริยาภณานนท์ โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ กฤษณา กฤษณพุกต์ . 2529. ความสำเร็จของกาต่อตาดอกสาลี่ในประเทศไทย ในรายงานการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 24 สาขาพืช เล่ม II มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 27-29 มกราคม 2529. หน้า 200-208. 
    (ปริมาณงาน 20% )
  • วิทยา สุริยาภณานนท์ โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ กฤษณา กฤษณพุกต์ . 2529. ผลของอุณหภูมิและสารเร่งบางอย่างต่อการงอกของเมล็ดท้อ. ในรายงานการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 24 สาขาพืช เล่ม II มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 27-29 มกราคม 2529. หน้า 209-216. (ปริมาณงาน 20%)
  • วิทยา สุริยาภณานนท์ โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ กฤษณา กฤษณพุกต์ . 2529. การเลือกชนิดของเนื้อไม้เพื่อใช้ใน
    การตัดชำกิ่งบ๊วย. ในรายงานการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 24 สาขาพืช เล่ม II มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    27-29 มกราคม 2529. หน้า 217-223. (ปริมาณงาน 20%)
  • วิทยา สุริยาภณานนท์ โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ กฤษณา กฤษณพุกต์ . 2529.การเปลี่ยนแปลงของการออกรากตามฤดูกาลของ กิ่งตัดชำบ๊วย ในรายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 24 สาขาพืช เล่ม II มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 27-29 มกราคม 2529. หน้า 224-230. (ปริมาณงาน 20%)
  • วิทยา สุริยาภณานนท์ โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ กฤษณา กฤษณพุกต์ . 2529. ผลของ IBA และ NAA ที่มีต่อการออกราก ของกิ่งตัดชำบ๊วย. ในรายงานการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 24 สาขาพืช เล่ม II มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 27-29 มกราคม 2529. หน้า 231-237. (ปริมาณงาน 20%)
  • วิทยา สุริยาภณานนท์ โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ กฤษณา กฤษณพุกต์ . 2529. ผลของวัสดุปักชำและ IBA ที่มีต่อการออกรากของกิ่งตัดชำบ๊วย. ในรายงานการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 24 สาขาพืช เล่ม II มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 27-29 มกราคม 2529. หน้า 238-243. (ปริมาณงาน 20%)